วันอังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2556

รวมภาพกิจกรรมต่างๆ


สรุปงานวิจัย

ชื่อวิจัย : การวิเคราะห์แบบฝึกพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้วิจัย   : อรสิริ วงศ์สิริศร

สรุปงานวิจัย :การวิจัยในครั้งนี้เพื่อศึกษาวิเคราะห์ลักษณะทั่วไปปริมาณเนื้อหาและสอดคล้องกับเนื้อหากับจดประสงค์ของแต่ล่ะทักษะตามแนวทางการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบฝึกความสำพันธ์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์

กลุ่มตัวอย่าง :เด็กนักเรียนชาย-หญิง อ.1 ถึง อ.3 ทั้งหมด

การประเมิน :แบบประเมินเชิงปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย



บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 16
วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556

- อาจารย์บอกกำหนดการวันทำกิจกรรม 




- อาจารย์สรุปเนื้อหาที่เรียนมาทั้งหมด
- ให้สรุปเนื้อหา สาระ  และ ทักษะ ที่เรียนมาใส่กระดาษ

งานที่มอบหมาย 
- ให้นักศึกษาหาวิจัยมา 1 เล่มห้ามซ้ำกัน แล้วเขียนสรุปเนื้อหางานวิจัย และนำไใช้ในคิตศาสตร์ได้อย่างไร

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556

- มีการสอบสอน (ต่อ) มี 2 กลุ่ม 2 หน่วย คือ หน่่วยกล้วย และ หน่วยข้าวโพด
- มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย

วันจันทร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556  

 สอบสอน  หน่วยส้ม
วันที่ 1 ชนิดของส้ม
- ใช้คำถาม ถามเด็กๆ ว่ารู้จักส้มชนิดใดบ้าง
- สรุปคำตอบของเด็กเป็น my map
- ให้เด็กคาดคะเนสิ่งที่อยู่ในตระกร้า (จากสิ่งที่ครูถามและได้บันทึกลงในmy map ไปแล้ว)
- เฉลยสิ่งที่อยู่ในตระกร้า
- ใช้คำถาม ถามจำนวนส้ม  "เด็กๆลองเดาดูสิคะว่าในตระกร้ามีส้มกี่ผล" (คาดคะเนจากการกะปริมาณ)
- ให้เด็กๆออกมานับจำนวนผลส้มในตระกร้าทั้งหมด  
- ครูเขียนตัวเลขแทนค่า เขียนกำกับไว้
- ครูตั้งเกณฑ์ขึ้นมา1เกณฑ์  แล้วให้เด็กๆแยกส้มตามเกณฑ์  เช่น "ให้เด็กๆแยกส้มที่เปลือกมีสีเขียวออกมาใส่ตระกร้าอีกใบนึง"
- ให้เด็กๆนับส้มที่แยกประเภท และใช้คำถามถามเด็ก เช่น  "มีส้มที่มีเปลือกสีเขียวกี่ผล" และ "เหลือส้มที่ไม่มีสีเขียวกี่ผล"
- ให้เด็กๆเปรียบเทียบจำนวนของส้มสองชนิดโดยการนับ จับคู่ 1ต่อ1
วันที่  2  ลักษณะและส่วนประกอบ
-  ทบทวนชนิดของส้ม
- ส่งส้มให้เด็กๆดูทีละชนิด พร้อมบอกให้เด็กสังเกตสีและพื้นผิวของส้ม
- ปอกเปลือกส้มให้เด็กๆดูส่วนประกอบข้างในของส้ม
- บันทึกลงตาราง ลักษณะและส่วนประกอบของส้ม 
- ทำกราฟแสดงความเหมือนและความต่างของส้มทั้งสองชนิด
วันที่ 3  ประโยชน์ของส้ม
- ถามเด็กๆถึงประโยชน์ของส้ม และบันทึกลงใน my map เพิ่มเติม
- เล่านิทานให็เด็กๆฟัง
- ให้เด็กๆโหวตว่าชอบทานเมนู อารหาร/ขนม/เครื่องดื่ม ของส้มเมนูใดมากที่สุด
- ทำกราฟแสดงผลเมนูจากส้มที่เด็กๆชอบ
- ให้เด็กๆเปรียบเทียบจำนวนของคนที่ชอบส้มในแต่ละเมนู โดยการปิดทีละ 1 เมนูใดที่หมดก่อนแสดงว่าคนชอบเมนูนั้นน้อยที่สุด
- ยังไม่ได้ทำการสอน เพราะว่ารับผิดชอบในส่วนการทำ COOKING. โดยอาจารย์จะให้สอนสัปดาห์สุดท้ายก่อนสอบ

งานที่มอบหมาย
ทำMaidmap สาระและมาตรฐาน การเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย 

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13
วันที่ 29 เดือนมกราคม พ.ศ.2556

เข้าเรียน 8:30-12:00 น.
- พูดคุยเรื่อง กิจกรรม
กีฬาสี
บายเนียร์
ความสามารถ

มาตรฐานที่ 1 การนับ
ปี3 ทั้งหมด 63 คน
1. รำ (เชิญพระขวัญ)  =  สว่างจิตร  (1คน)
2. ร้องเพลง (หนูไม่รู้) =  รัตติยา  (1คน)
3. โฆษณา  = นิศาชล/ละมัย (2คน)
4. พิธีกร  = ลูกหยี/ซาร่า (2คน)
5. การแสดงโชว์  (ลิปซิงค์เพลง) =  จุฑามาศ/นีรชา
                            (เต้นประกอบเพลง)  = พลอยปภัส/เกตุวดี/มาลินี 
                            (ละครใบ้)  = ลูกหมี/จันทร์สุดา 
                            (ตลก)  = ณัฐชา/ชวนชม/ดาราวรรณ รวม  (10คน)
6. ผู้กำกับหน้าม้า  = พวงทอง/นฏา  (2คน)
7. หน้าม้า  = ทั้งหมดที่เหลือ   (48คน)

มาตรฐานที่ 2 เรื่องเวลา
15:00-15:10 น. 
รำ
ร้องเพลง
โฆษณา
15:00-15:30 น. 
พีธีกร
การแสดงโชว์ต่างๆ

มาตรฐานที่ 3 เรื่องทิศทาง
เช่นการขึ้นการลงซ้าย-ขวา

มาตรฐานที่ 4 เรื่องแบบรูป
- ชุดการแสดงมีรูปแบบต่างๆ

มาตรฐานที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
- ความน่าจะเป็น การวางแผนการทำงานต่างๆ

มาตรฐานที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (การเตรียมตัว)
- เกิดกระบวนการคิด , การเรียงลำดับเหตุการณ์


บักทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12
วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ.2556

ส่งงานสื่อคณิตศาสตร์ (กราฟ)


กราฟ

สมาชิก
- อาจารย์แนะนำพิ่มเติม
> เพิ่มช่องสำหรับใส่หัวข้อ
> เพิ่มที่สำหรับปักหมุดไว้ด้านข้างที่เก็บเชือก
- อาจารย์แนะนำการสอบสอน
> การแยก มีส้มเขียวหวาน 4 ผล มีส้มจี๊ด 6 ผล
> การรวม ส้มเขียวหวาน 4 ผล+ส้มจี๊ด 6 ผล = มีส้มทั้งหมด 10 ผล
> การเปรียบเทียบ เปรียบเทียบจำนวนของสองชนิดโดยการจับคู่ 1 ต่อ 1
-สื่อทางคณิตศาสตร์ควรเป็ยสื่อที่สามารถหยิบจับได้เด็กได้ลงมือปฎิบัติก็จะเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
-ใช้นิทานในการสอนเนื้อหา ทำให้เด็กเข้าใจได้ง่าย และ น่าสนใจ